Management Information System - MIS
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System) หรือ MIS คือระบบที่ให้สารสนเทศที่ผู้บริหารต้องการ เพื่อให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจะรวมทั้ง สารสนเทศภายในและภายนอก สารสนเทศที่เกี่ยวพันกับองค์กรทั้งในอดีตและปัจจุบัน รวมทั้งสิ่งที่คาดว่าจะเป็นในอนาคต นอกจากนี้ระบบเอ็มไอเอสจะต้อง ให้สารสนเทศ ในช่วงเวลาที่เป็นประโยชน์ เพื่อให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในการวางแผนการควบคุม และการปฏิบัติการขององค์กรได้อย่างถูกต้อง
แม้ว่าผู้บริหารที่จะได้รับประโยชน์จาก ระบบเอ็มไอเอสสูงสุดคือผู้บริหารระดับกลาง แต่โดยพื้นฐานของระบบเอ็มไอเอสแล้ว จะเป็นระบบที่ สามารถสนับสนุนข้อมูลให้ ผู้บริหารทั้งสามระดับ คือทั้งผู้บริหารระดับต้น ผู้บริหารระดับกลาง และผู้บริหารระดับสูง โดยระบบเอ็มไอเอสจะให้รายงาน ที่สรุปสารสนเทศซึ่งรวบรวมจากฐานข้อมูลทั้งหมดของบริษัท จุดประสงค์ ของรายงานจะเน้นให้ผู้บริหารสามารถมองเห็นแนวโน้ม และภาพรวม ขององค์กรในปัจจุบัน รวมทั้งามารถควบคุมและตรวจสอบงานของระดับปฏิบัติการด้วย อย่างไรก็ดี ขอบเขตของรายงาน จะขึ้นอยู่กับ ลักษณะของสารสนเทศ และจุดประสงค์การใช้งาน โดยอาจมีรายงานที่ออกทุกคาบระยะเวลา (เช่น งบกำไรขาดทุนหรืองบดุล) รายงานตามความต้องการ หรือรายงานตามสภาวะการณ์หรือเหตุผิดปกติ
แม้ว่าผู้บริหารที่จะได้รับประโยชน์จาก ระบบเอ็มไอเอสสูงสุดคือผู้บริหารระดับกลาง แต่โดยพื้นฐานของระบบเอ็มไอเอสแล้ว จะเป็นระบบที่ สามารถสนับสนุนข้อมูลให้ ผู้บริหารทั้งสามระดับ คือทั้งผู้บริหารระดับต้น ผู้บริหารระดับกลาง และผู้บริหารระดับสูง โดยระบบเอ็มไอเอสจะให้รายงาน ที่สรุปสารสนเทศซึ่งรวบรวมจากฐานข้อมูลทั้งหมดของบริษัท จุดประสงค์ ของรายงานจะเน้นให้ผู้บริหารสามารถมองเห็นแนวโน้ม และภาพรวม ขององค์กรในปัจจุบัน รวมทั้งามารถควบคุมและตรวจสอบงานของระดับปฏิบัติการด้วย อย่างไรก็ดี ขอบเขตของรายงาน จะขึ้นอยู่กับ ลักษณะของสารสนเทศ และจุดประสงค์การใช้งาน โดยอาจมีรายงานที่ออกทุกคาบระยะเวลา (เช่น งบกำไรขาดทุนหรืองบดุล) รายงานตามความต้องการ หรือรายงานตามสภาวะการณ์หรือเหตุผิดปกติ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ Management Information System เป็นระบบการจัดหาคนหรือข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลเพื่อการดำเนินงานขององค์การการจัดโครงสร้างของสารสนเทศโดยแบ่งตามลำดับ การนำไปใช้งานสามารถแบ่งได้ 4 ระดับดังนี้
1. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในการวางแผนนโยบาย กลยุทธ์ และการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูง
2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในส่วนยุทธวิธีในการวางแผนการปฏิบัตและการตัดสินใจของผู้บริหารระดับกลาง
3. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในระดับปฎิบัติการและการควบคุมในขั้นตอนนี้ผู้บริหารระดับล่างจะเป็นผู้ใช้สารสนเทศเพื่อช่วยในการปฎิบัติงาน
4. ระบบสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผล ระบบสารสนเทศเป็นระบบรวมทั้งนี้เนื่องจากไม่สามารถเก็บรวบรวมในลักษณะระบบเดียวเนื่องจากขนาดข้อมูลมีขนาดใหญ่และมีความซับซ้อนมาก ทำให้การบริหารข้อมูลทำได้อยาก การนำไปใช้ไม่สะดวก จึงจำเป็นต้องแบ่งระบบสารสนเทศออกเป็นระบบย่อย 4 ส่วนได้แก่
ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing System :TPS)
ระบบจัดการรายงาน (Management Reporting System :MRS)
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System :DSS)
ระบบสารสนเทศสำนักงาน (Office Information System :OIS)
1. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในการวางแผนนโยบาย กลยุทธ์ และการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูง
2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในส่วนยุทธวิธีในการวางแผนการปฏิบัตและการตัดสินใจของผู้บริหารระดับกลาง
3. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในระดับปฎิบัติการและการควบคุมในขั้นตอนนี้ผู้บริหารระดับล่างจะเป็นผู้ใช้สารสนเทศเพื่อช่วยในการปฎิบัติงาน
4. ระบบสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผล ระบบสารสนเทศเป็นระบบรวมทั้งนี้เนื่องจากไม่สามารถเก็บรวบรวมในลักษณะระบบเดียวเนื่องจากขนาดข้อมูลมีขนาดใหญ่และมีความซับซ้อนมาก ทำให้การบริหารข้อมูลทำได้อยาก การนำไปใช้ไม่สะดวก จึงจำเป็นต้องแบ่งระบบสารสนเทศออกเป็นระบบย่อย 4 ส่วนได้แก่
ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing System :TPS)
ระบบจัดการรายงาน (Management Reporting System :MRS)
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System :DSS)
ระบบสารสนเทศสำนักงาน (Office Information System :OIS)
ลักษณะของระบบเอ็มไอเอสที่ดี
ระบบMIS จะสนับสนุนการทำงานของระบบประมวลผลข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลรายวัน
ระบบMIS จะใช้ฐานข้อมูลที่ถูกรวมเข้าด้วยกัน และสนับสนุนการทำงานของฝ่ายต่าง ๆ ในองค์กร
ระบบMIS จะช่วยให้ผู้บริหารระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง เรียกใช้ข้อมูลที่เป็นโครงสร้างได้ตามเวลาที่ต้องการ
ระบบMIS จะมีความยืดหยุ่นและสามารถรองรับความต้องการข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงไปขององค์กร
ระบบMIS ต้องมีระบบรักษาความลับของข้อมูล และจำกัดการใช้งานของบุคลเฉพาะผู้ที่เกี่ยวข้องเท่านั้น
ระบบMIS จะสนับสนุนการทำงานของระบบประมวลผลข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลรายวัน
ระบบMIS จะใช้ฐานข้อมูลที่ถูกรวมเข้าด้วยกัน และสนับสนุนการทำงานของฝ่ายต่าง ๆ ในองค์กร
ระบบMIS จะช่วยให้ผู้บริหารระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง เรียกใช้ข้อมูลที่เป็นโครงสร้างได้ตามเวลาที่ต้องการ
ระบบMIS จะมีความยืดหยุ่นและสามารถรองรับความต้องการข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงไปขององค์กร
ระบบMIS ต้องมีระบบรักษาความลับของข้อมูล และจำกัดการใช้งานของบุคลเฉพาะผู้ที่เกี่ยวข้องเท่านั้น
1. คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี ถูกต้อง (Accurate)
2. ทันเวลา (Timeliness)
3. สอดคล้องกับงาน (Relevance)
4. สามารถตรวจสอบได้ (Verifiable)
1. การพัฒนาระบบสารสนเทศต้องคำนึงถึงคุณสมบัติของ MIS ความสามารถในการจัดการข้อมูล (Data manipulation)
2. ความปลอดภัยของข้อมูล (Data security)
3. ความยืดหยุ่น (Flexibility)
4. ความพอใจของผู้ใช้ (User satisfaction)
1. ประโยชน์ของ MIS ช่วยให้ได้ข้อมูลที่ต้องการ ได้ทันเหตุการณ์
2. ช่วยให้กำหนดกลยุทธ์ และวางแผนปฏิบัติการได้
3. ช่วยให้ตรวจสอบผลการดำเนินงานได้
4. ช่วยให้ศึกษา และวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
5. ช่วยให้สามารถวิเคราะห์ปัญหา หรืออุปสรรค เพื่อหาวิธีแก้ไข
6. ช่วยลดค่าใช้จ่าย
1. การจัดโครงสร้างของสารสนเทศตามการนำไปใช้แบ่งได้ 4 ระดับ Top management : ระดับวางแผนกลยุทธ์ นโยบาย และการตัดสินใจ
2. Middle management : ระดับวางแผนการปฏิบัติการ ในระดับยุทธวิธี
3. Bottom management : ระดับควบคุมการปฏิบัติการ และขั้นตอนต่าง ๆ
4. Operation : ระดับปฏิบัติการ
1. ระบบย่อย หรือส่วนประกอบของ MIS ระบบประมวลผลรายการ (TPS = Transaction processing Systems)
เช่น การบันทึกรายการบัญชี การขาย การผลิต เป็นต้น
2. ระบบการจัดการรายงาน (MRS = Management Reporting System)
ช่วยจัดเตรียมรายงานสนองความต้องการของผู้ใช้ เช่น Grade report
3. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS = Decision Support System)
ช่วยเตรียมรายงาน เพื่อเป็นประโยชน์ในการตัดสินใจของผู้บริหารระดับต่าง ๆ
4. ระบบสารสนเทศสำนักงาน (OIS = Office Information System)
ระบบสารสนเทศในสำนักงานโดยอาศัยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
1. การรวมความสัมพันธ์ของแต่ละระบบย่อยเข้าด้วยกัน ESS = Executive Support Systems
2. MIS = Management Information Systems
3. DDS = Decision Support Systems
4. OIS = Office Information Systems
5. TPS = Transaction Processing Systems
การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ (Information Resource Management)
สารสนเทศถือเป็นทรัพยากรหนึ่งที่จำเป็นต่อการบริหารในองค์กร จึงต้องมีการจัดสรร และจัดการอย่างเป็นระบบ
1. กระบวนการการประมวลผล แนะการนำไปใช้ ข้อมูล (Data)
2. การประมวลผล (Process)
3. สารสนเทศ (Information)
4. ผู้บริหาร (Administrator)
5. การตัดสินใจ (Decision)
1. เป้าหมายของระบบสารสนเทศ (Objective of information system) เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
2. เพิ่มผลผลิต
3. เพิ่มคุณภาพในการบริการลูกค้า
4. ผลิตสินค้าใหม่ และขยายผลิตภัณฑ์
5. สร้างทางเลือกในการแข่งขัน
6. สร้างโอกาสทางธุรกิจ
7. ครองใจลูกค้า และปกป้องจากคู่แข่ง
1. พื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศบนพื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ (input,memory,arithmetic and logic,control,output)
- Hardware
- Software
2. ทันเวลา (Timeliness)
3. สอดคล้องกับงาน (Relevance)
4. สามารถตรวจสอบได้ (Verifiable)
1. การพัฒนาระบบสารสนเทศต้องคำนึงถึงคุณสมบัติของ MIS ความสามารถในการจัดการข้อมูล (Data manipulation)
2. ความปลอดภัยของข้อมูล (Data security)
3. ความยืดหยุ่น (Flexibility)
4. ความพอใจของผู้ใช้ (User satisfaction)
1. ประโยชน์ของ MIS ช่วยให้ได้ข้อมูลที่ต้องการ ได้ทันเหตุการณ์
2. ช่วยให้กำหนดกลยุทธ์ และวางแผนปฏิบัติการได้
3. ช่วยให้ตรวจสอบผลการดำเนินงานได้
4. ช่วยให้ศึกษา และวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
5. ช่วยให้สามารถวิเคราะห์ปัญหา หรืออุปสรรค เพื่อหาวิธีแก้ไข
6. ช่วยลดค่าใช้จ่าย
1. การจัดโครงสร้างของสารสนเทศตามการนำไปใช้แบ่งได้ 4 ระดับ Top management : ระดับวางแผนกลยุทธ์ นโยบาย และการตัดสินใจ
2. Middle management : ระดับวางแผนการปฏิบัติการ ในระดับยุทธวิธี
3. Bottom management : ระดับควบคุมการปฏิบัติการ และขั้นตอนต่าง ๆ
4. Operation : ระดับปฏิบัติการ
1. ระบบย่อย หรือส่วนประกอบของ MIS ระบบประมวลผลรายการ (TPS = Transaction processing Systems)
เช่น การบันทึกรายการบัญชี การขาย การผลิต เป็นต้น
2. ระบบการจัดการรายงาน (MRS = Management Reporting System)
ช่วยจัดเตรียมรายงานสนองความต้องการของผู้ใช้ เช่น Grade report
3. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS = Decision Support System)
ช่วยเตรียมรายงาน เพื่อเป็นประโยชน์ในการตัดสินใจของผู้บริหารระดับต่าง ๆ
4. ระบบสารสนเทศสำนักงาน (OIS = Office Information System)
ระบบสารสนเทศในสำนักงานโดยอาศัยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
1. การรวมความสัมพันธ์ของแต่ละระบบย่อยเข้าด้วยกัน ESS = Executive Support Systems
2. MIS = Management Information Systems
3. DDS = Decision Support Systems
4. OIS = Office Information Systems
5. TPS = Transaction Processing Systems
การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ (Information Resource Management)
สารสนเทศถือเป็นทรัพยากรหนึ่งที่จำเป็นต่อการบริหารในองค์กร จึงต้องมีการจัดสรร และจัดการอย่างเป็นระบบ
1. กระบวนการการประมวลผล แนะการนำไปใช้ ข้อมูล (Data)
2. การประมวลผล (Process)
3. สารสนเทศ (Information)
4. ผู้บริหาร (Administrator)
5. การตัดสินใจ (Decision)
1. เป้าหมายของระบบสารสนเทศ (Objective of information system) เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
2. เพิ่มผลผลิต
3. เพิ่มคุณภาพในการบริการลูกค้า
4. ผลิตสินค้าใหม่ และขยายผลิตภัณฑ์
5. สร้างทางเลือกในการแข่งขัน
6. สร้างโอกาสทางธุรกิจ
7. ครองใจลูกค้า และปกป้องจากคู่แข่ง
1. พื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศบนพื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ (input,memory,arithmetic and logic,control,output)
- Hardware
- Software
- communication & relation
- Data
- People
2. ผู้เขียนโปรแกรม ผู้ใช้ และผู้วิเคราะห์ระบบ
3. เทคนิคในการปฏิบัติของระบบสารสนเทศบนพื้นฐานคอมพิวเตอร์ (Technical operation of Computer-Base Information Systems = CBIS)
4. การจัดข้อมูลบนพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
5. รูปแบบการประมวลผล
แหล่งของข้อมูลสารสนเทศ
1. แหล่งข้อมูลภายนอก
2. แหล่งข้อมูลภายใน
2.1 สารสนเทศที่ได้มาจากการประมวลผลข้อมูล
2.2 สารสนเทศที่ได้จากแหล่งอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับการประมวลผล
- Data
- People
2. ผู้เขียนโปรแกรม ผู้ใช้ และผู้วิเคราะห์ระบบ
3. เทคนิคในการปฏิบัติของระบบสารสนเทศบนพื้นฐานคอมพิวเตอร์ (Technical operation of Computer-Base Information Systems = CBIS)
4. การจัดข้อมูลบนพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
5. รูปแบบการประมวลผล
แหล่งของข้อมูลสารสนเทศ
1. แหล่งข้อมูลภายนอก
2. แหล่งข้อมูลภายใน
2.1 สารสนเทศที่ได้มาจากการประมวลผลข้อมูล
2.2 สารสนเทศที่ได้จากแหล่งอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับการประมวลผล
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น