ความแตกต่างระหว่างระบบสารสนเทศ MIS กับ DSS
- ระบบ MIS เป็นระบบที่มีการนำผลการประมวลผลในระดับของระบบ DP ของแต่ละงานในหน่วยงานที่ประมวลผล
มาแล้วทำการแลกเปลี่ยนข้อมูลของงานแต่ละงานที่เกี่ยวข้องกันหรือมีความสัมพันธ์กันของข้อมูลของงานแต่ละงาน
- ระบบ DSS เป็นระบบที่ทำการสร้างขึ้นมาเพื่อเป็นเครื่องมือช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ
ของผู้บริหารในการตัดสินใจ โดยการนำการประมวลผลในระบบ MISมาประกอบกาานำ
สารสนเทศจากภายนอกมาประกอบในการสร้างเครื่องมือ
- ความแตกต่างระหว่าง DSS กับ MIS คือ เน้นการตัดสินใจแบบมีโครงสร้าง (แนวทาง – ตรรก ที่แน่นอน) และใช้ข้อมูลภายในจากระบบ Dss เป็นหลัก จุดมุ่งหมายเพื่อบริหารจัดการ (Supervise) งานของหน่วยปฏิบัติการ ให้บรรลุเป้าหมาย
ตามแผนงานที่กำหนดมาโดยผู้บริหารระดับกลาง ภายใต้งบประมาณ เวลาและข้อจำกัดอื่นๆ ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
ระบบ DSS เป็นระบบที่ทำการสร้างขึ้นมาเพื่อเป็นเครื่องมือช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ ของผู้บริหารในการตัดสินใจ โดยการนำการประมวลผลในระบบ MIS มาประกอบกาานำ สารสนเทศจากภายนอกมาประกอบในการสร้างเครื่องมือ
ระบบ MIS เป็นระบบที่มีการนำผลการประมวลผลในระดับของระบบ DP ของแต่ละงานในหน่วยงานที่ประมวลผล มาแล้วทำการแลกเปลี่ยนข้อมูลของงานแต่ละงานที่เกี่ยวข้องกันหรือมีความสัมพันธ์กันของข้อมูลของงานแต่ละงาน
ความแตกต่างระหว่างระบบสารสนเทศ DSS กับ MIS
ความแตกต่างระหว่าง DSS กับ MIS คือ เน้นการตัดสินใจแบบมีโครงสร้าง (แนวทาง – ตรรก ที่แน่นอน) และใช้ข้อมูลภายในจากระบบDssเป็นหลัก จุดมุ่งหมายเพื่อบริหารจัดการ (Supervise) งานของหน่วยปฏิบัติการ ให้บรรลุเป้าหมาย ตามแผนงานที่กำหนดมาโดยผู้บริหารระดับกลาง ภายใต้งบประมาณ เวลาและข้อจำกัดอื่นๆ ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
ความหมายของ “DSS” ระบบสารสนเทศ
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS Decision Support System หมายถึง ระบบสารสนเทศที่มีเพื่อช่วยแก้ปัญหา หรือนำเสนอทางเลือกให้แก่ผู้บริหาร
ความหมายของ "MIS" ระบบสารสนเทศ
เอ็มไอเอส (MIS = Management Information System) หมายถึง คำที่มักใช้ในสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่อ้างอิงถึง เทคโนโลยี กระบวนการ ระบบ และผู้คน ที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และการประมวลผลสารสนเทศ
ตัวอย่างของระบบ MIS &
DSS
MIS
|
DSS
|
เช่น
ระบบรายงานวิเคราะห์การขายประกอบไปด้วยข้อมูลใน 3 ด้านด้วยกัน
Ø รายงานยอดขายในแต่ละสายผลิตภัณฑ์
Ø รายงานยอดขายจากผู้จําหน่ายแต่ละราย
Ø รายงานยอดขายจากแต่ละภูมิภาค
ผุ้บริหารจะนําข้อมูลจากรายงานต่างๆมาวิเคราะห์
เพื่อหาแนวทางการเพิ-มยอดขายด้วยตัวเอง
|
ระบบวิเคราะห์ปัจจัยใดบ้างมีผลต่อยอดขายธุรกิจ
เช่น ปัจจัยด้านสายผลิตภัณฑ์ ปัจจัยด้านผู้จําหน่ายแต่ละราย หรือ
ปัจจัยด้านภูมิภาค
เป็นต้นจะทําให้ผู้บริหารเกิดความรู้ว่าจะต้องให้ความสําคัญกับปัจจัยใดมากเป็นพิเศษ
เช่น
เทคนิคเหมืองข้อมูล Data
Mining, เหมือง
เว็บ Web Mining, เทคนิคข้อความ Text
mining ใช้ในการระบุสิ-งที-ลูกค้าต้องการมากที-สุด
ผ่าน website ทําให้ธุรกิจสามารถเลือกบริการที-
เหมาะสมให้กับลูกค้าได้
|
การเปรียบเทียบระบบ MIS และ DSS
หัวข้อ
|
MIS
|
DSS
|
1.วัตถุประสงค์หลัก
|
-ตรวจสอบ
|
- การตัดสินใจนำไปใช้
|
2.จุดเด่นของระบบ
|
- สนับสนุนการทำงานของระบบประมวลผลข้อมูลและกาจัดเก็บข้อมูลรายวัน
- ช่วยให้ผู้บริการระดับต้นระดับกลาง
ระดับสูงเรียกใช้ข้อมูลที่เป็นโครงสร้างได้ตามต้องการ
- มีความยืดหยุ่นสามารถรองรับความต้องการข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงไปขององค์กร
- ต้องมีระบบรักษา
|
-ช่วยผู้บริการในการตัดสินใจ
-
กออกแบบมาให้สามารถ
เรียกใช้ทั้งข้อมูลแบบกึ่งโครงสร้างและแบบไม่มีโครงสร้างแน่นอนได้
-สามารถสนับสนุนผู้ตัดสินใจได้ในทุกระดับแต่จะเน้นที่ระดับวางแผนบริหารและวางแผนยุทธศาสตร์
-
สามารถปรับให้เข้ากับความต้องการข่าวสารในสถานการณ์ต่างๆ
-
มีกลไกช่วยให้สามารถเรียกใช้ข้อมูลที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว
-
สามารถติดต่อกับฐานข้อมูลขององค์กรได้
|
3. ผู้ใช้ระบบ
|
- หัวหน้าระดับต้น
- ผู้บริหารระดับกลาง
|
- ผู้บริหารระดับกลาง
- ผู้บริหารระดับสูง
|
4. ชนิดของปัญหา
|
-
ความต้องการในการผลิต
-
ราคาต้นทุนวัตถุดิบตัวแปรอื่น ๆ ที่ต้องใช้ในระบบสินค้าคงคลัง
|
-
ปัญหาแบบกึ่งโครงสร้างปัญหาแบบไม่มีโครงสร้าง
ปัญหาแบบกึ่งโครงสร้างซึ่งเป็นปัญหาที่ส่วนเป็นแบบมีโครงสร้าง
และส่วนหนึ่งเป็นแบบไม่มีโครงสร้าง เช่น ความต้องการปรับปรุงคุณภาพการส่งสินค้าของพ่อค้า
ปัญหาแบบมีโครงสร้างได้แก่
การเปรียบเทียบสารสนเทศในการส่งของอย่างตรงเวลาของพ่อค้า
|
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System : MIS)
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ คือ ระบบที่เกี่ยวข้องกับผู้บริหารที่ต้องการ การประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้ประโยชน์มากกว่าการช่วยงานแบบต่อวัน MIS จึงมีความสามารถในการคำนวณเปรียบเทียบข้อมูล ซึ่งมีความหมายต่อการจัดการและบริหารงานเป็นอย่างมาก นอกจากนั้นระบบนี้ยังสามารถสร้างสารสนเทศที่ถูกต้องทันสมัย
คุณสมบัติของระบบ MIS คือ
– ระบบ MIS สนับสนุนการทำงานของระบบประมวลผลข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลรายวัน
– ระบบ MIS จะใช้ฐานข้อมูลที่ถูกรวมเข้าด้วยกัน และสนับสนุนการทำงานของฝ่ายต่างๆ ในองค์กร
– ระบบ MIS จะช่วยให้ผู้บริหารระดับต้น ระดับกลาง ระดับสูงเรียกใช้ข้อมูลที่เป็นโครงสร้างได้ตามเวลาที่ต้องการ
– ระบบ MIS จะมีความยืดหยุ่นและสามารถรองรับความต้องการข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงขององค์กร
– ระบบ MIS ต้องมีระบบรักษาความลับของข้อมูล และจำกัดการใช้งานของบุคคลเฉพาะผู้ที่เกี่ยวข้องเท่านั้น
ระบบช่วยตัดสินใจ (Decision Support System : DSS)
ระบบช่วยตัดสินใจ หมายถึง ระบบที่ทำหน้าที่จัดเตรียมสารสนเทศ เพื่อช่วยในการตัดสินใจ หากเป็นการใช้โดยผู้บริหารระดับสูง เรียกว่า “ระบบสนับสนุนการตัดสินในเพื่อผู้บริหารระดับสูง” (Executive Support System : ESS) บางครั้งสารสนเทศที่ TPS และ MIS ไม่สามารถช่วยให้ผู้บริหารตัดสินใจได้จำเป็นต้องพัฒนาระบบช่วยตัดสินใจ DSS ขึ้น เพื่อช่วยในการตัดสินใจภายใต้ผลสรุปและการเปรียบเทียบข้อมูลจากแหล่งอื่น ทั้งภายในและนอกองค์กร โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อช่วยในการตัดสินใจที่ไม่ได้คาดไว้ล่วงหน้า เช่น การตัดสินใจเกี่ยวกับการรวมบริษัท การขยายโรงงานใหม่ เป็นต้น
คุณสมบัติของระบบ DSSคือ
– ระบบ DSS จะต้องช่วยผู้บริหารในกระบวนการการตัดสินใจ
– ระบบ DSS จะต้องถูกออกแบบมาให้สามารถเรียกใช้ทั้งข้อมูลแบบกึ่งโครงสร้างและแบบไม่มีโครงสร้างแน่นอนได้
– ระบบ DSS จะต้องสามารถสนับสนุนผู้ตัดสินใจได้ในทุกระดับแต่จะเน้นที่ระดับวางแผนบริหารและวางแผนยุทธศาสตร์
– ระบบ DSS มีรูปแบบการใช้งานอเนกประสงค์ มีความสามารถในการจำลองสถานการณ์และมีเครื่องมือในการวิเคราะห์สำหรับช่วยเหลือผู้ทำการตัดสินใจ
– ระบบ DSS ต้องเป็นระบบที่โต้ตอบกับผู้ใช้ได้ สามารถใช้งานได้ง่ายผู้บริหารต้องสามารถใช้งานโดยพึ่งความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญน้อยที่สุดหรือไม่ต้องพึ่งเลย
– ระบบ DSS ต้องสามารถปรับให้เข้ากับความต้องการข่าวสารในสภาพการณ์ต่างๆ
– ระบบ DSS ต้องมีกลไกช่วยให้สามารถเรียกใช้ข้อมูลที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว
– ระบบ DSS ต้องสามารถติดต่อกับฐานข้อมูลขององค์กรได้
– ระบบ DSS ต้องทำงานโดยไม่ขึ้นกับระบบการทำงานตามตารางเวลาขององค์กร
– ระบบ DSS มีความยืดหยุ่นพอที่จะรองรับรูปแบบการบริหารแบบต่างๆ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น