Decision Support System : DSS
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ หรือ DSS เป็นซอฟต์แวร์หรือตัวโปรแกรมที่ช่วยในการตัดสินใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการ การ
รวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการสร้างตัวแบบที่ซับซ้อนภายใต้ซอฟต์แวร์เดียวกัน เพื่อแก้ปัญหาที่มีความยุ่งยากซับซ้อน DSS ยังเป็นการประสานการทางานระหว่างบุคลากรกับเทคโนโลยีทางด้านซอฟต์แวร์ โดยเป็นการกระทาโต้ตอบกัน
เพื่อแก้ปัญหาแบบไม่มีโครงสร้าง และอยู่ภายใต้การควบคุมของผู้ใช้ตั้งแต่เริ่มต้นถึงสิ้นสุดขั้นตอน
รวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการสร้างตัวแบบที่ซับซ้อนภายใต้ซอฟต์แวร์เดียวกัน เพื่อแก้ปัญหาที่มีความยุ่งยากซับซ้อน DSS ยังเป็นการประสานการทางานระหว่างบุคลากรกับเทคโนโลยีทางด้านซอฟต์แวร์ โดยเป็นการกระทาโต้ตอบกัน
เพื่อแก้ปัญหาแบบไม่มีโครงสร้าง และอยู่ภายใต้การควบคุมของผู้ใช้ตั้งแต่เริ่มต้นถึงสิ้นสุดขั้นตอน
DSS เป็นระบบที่ช่วยผู้บริหารในเรื่องการตัดสินใจโดยเฉพาะข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงไม่มีรูปแบบที่แน่นอน มีความยืดหยุ่นในการทางาน และสามารถที่จะตอบสนองได้อย่างรวดเร็ว
ระบบ DSS เป็นระบบที่สร้างขึ้นมาโดยคาดหวังว่าผู้ใช้โดยทั่วไป สามารถเรียนรู้ได้และนำไปปฏิบัติได้ โดยไม่จาเป็นต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์ เช่น
– โปรแกรม โลตัส 1-2-3
– MS- Excel, MS-Word
– MS-PowerPoint
– โปรแกรม โลตัส 1-2-3
– MS- Excel, MS-Word
– MS-PowerPoint
นอกจากนั้นยังสามารถแสดงผลในรูปของข้อความ (Text) รูปภาพ (Graphics) และตัวเลข (Numeric) ได้
วัตถุประสงค์ของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
– การตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้างและแบบไม่มีโครงสร้าง (Semistracture and Unstructured Decisions)
– ความสามารถในการปรับปรุงความต้องการที่เปลี่ยนไป (Ability to adapt changing needs)
– ง่ายต่อการเรียนรู้และนามาใช้ (Ease of learning and use)
การตัดสินใจ (Decision Making) ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ
1.การใช้ความคิดประกอบเหตุผล (Intelligence) เป็นขั้นตอนที่รับรู้และตระหนักถึงปัญหาหรือโอกาสที่เกิดขึ้น ทำการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหา นำข้อมูลมาวิเคราะห์และตรวจสอบเพื่อแยกแยะและกำหนดรายละเอียดของปัญหาหรือโอกาส
2.การออกแบบ (Design) เป็นขั้นตอนของการพัฒนาและวิเคราะห์ทางเลือกในการปฏิบัติที่เป็นไปได้ รวมถึงการตรวจสอบและประเมินทางเลือกในการแก้ปัญหา ซึ่งอาจใช้ตัวแบบเพื่อสร้างทางเลือกต่าง ๆ ในการแก้ปัญหา หรือออกแบบหนทางแก้ปัญหาที่ดีที่สุด
3.การคัดเลือก (Choice) ผู้ตัดสินใจจะเลือกแนวทางเลือกที่เมาะสมกับปัญหาและสถานการณ์มากที่สุด โดยอาจใช้เครื่องมือมาช่วยวิเคราะห์ คำนวณค่าใช้จ่ายและผลตอบแทนของแต่ละแนวทางเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าได้เลือกแนวทางที่ดีที่สุด
4.การนำไปใช้ (Implementation) เป็นขั้นตอนที่นำผลการตัดสินใจไปปฏิบัติและ คิดตามผลของการปฏิบัติเพื่อตรวจสอบว่าการดำเนินงานมีประสิทธิภาพหรือมีข้อขัดข้องประการใด จะต้องแก้ไข้หรือปรับปรุงให้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์อย่างไร
ระดับของการตัดสินใจภายในองค์การ แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ
– ระดับกลยุทธ์
– ระดับยุทธวิธี
– ระดับปฏิบัติการ
– ระดับยุทธวิธี
– ระดับปฏิบัติการ
ประเภทของการตัดสินใจ มี 3 ประเภท ได้แก่
– โครงสร้าง
– กึ่งโครงสร้าง
– ไม่มีโครงสร้าง
ส่วนประกอบของระบบ DSS ประกอบด้วยส่วนประกอบหลัก 3 ส่วน
โครงสร้างระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
อุปกรณ์ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม
– อุปกรณ์ประมวลผล คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ มินิคอมพิวเตอร์
– อุปกรณ์สื่อสาร ประกอบด้วย ระบบสื่อสารต่าง ๆ
– อุปกรณ์แสดงผล จอภาพที่มีประสิทธิภาพ และความความละเอียดสูง
– อุปกรณ์ประมวลผล คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ มินิคอมพิวเตอร์
– อุปกรณ์สื่อสาร ประกอบด้วย ระบบสื่อสารต่าง ๆ
– อุปกรณ์แสดงผล จอภาพที่มีประสิทธิภาพ และความความละเอียดสูง
กระบวนการทางาน
– ฐานข้อมูล (Database) ไม่มีหน้าที่สร้าง หรือค้นหา หรือปรับปรุงข้อมูลในฐานข้อมูลแต่มีฐานข้อมูลของตัวเอง ที่รวบรวมข้อมูลสาคัญที่รอการประมวลผลประกอบการตัดสินใจ
– ฐานแบบจาลอง (Model Base) ที่รวบรวมแบบจาลองทางคณิตศาสตร์และแบบจาลองในการวิเคราะห์ปัญหาที่สาคัญ แตกต่างกันตามวัตถุประสงค์ในการนาไปใช้
– ระบบชุดคาสั่ง (DSS Software system) เป็นส่วนสาคัญที่ช่วยอานวยความสะดวกในการโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับฐานข้อมูลและฐานแบบจาลอง
– ฐานข้อมูล (Database) ไม่มีหน้าที่สร้าง หรือค้นหา หรือปรับปรุงข้อมูลในฐานข้อมูลแต่มีฐานข้อมูลของตัวเอง ที่รวบรวมข้อมูลสาคัญที่รอการประมวลผลประกอบการตัดสินใจ
– ฐานแบบจาลอง (Model Base) ที่รวบรวมแบบจาลองทางคณิตศาสตร์และแบบจาลองในการวิเคราะห์ปัญหาที่สาคัญ แตกต่างกันตามวัตถุประสงค์ในการนาไปใช้
– ระบบชุดคาสั่ง (DSS Software system) เป็นส่วนสาคัญที่ช่วยอานวยความสะดวกในการโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับฐานข้อมูลและฐานแบบจาลอง
– ข้อมูล เป็นองค์ประกอบที่สาคัญอีกส่วนหนึ่งของ DSS ไม่ว่า DSS จะประกอบด้วยอุปกรณ์ที่ทันสมัยและได้รับการออกแบบระบบการทางานให้สอดคล้องกันและเหมาะสมกับการใช้งาน
– ข้อมูลที่นำมาใช้ในการประมวลผลไม่มีคุณภาพ ก็ไม่สามารถช่วยสนับสนุนการตัดสินใจของผู้ใช้ได้อย่างเหมาะสม
– มีปริมาณพอเหมาะแก่การนาไปใช้งาน
– มีความถูกต้องทันสมัยในระดับที่เหมาะสมกับความต้องการ
– สามารถนามาใช้ได้สะดวก รวดเร็ว และครบถ้วน
– ข้อมูลที่นำมาใช้ในการประมวลผลไม่มีคุณภาพ ก็ไม่สามารถช่วยสนับสนุนการตัดสินใจของผู้ใช้ได้อย่างเหมาะสม
– มีปริมาณพอเหมาะแก่การนาไปใช้งาน
– มีความถูกต้องทันสมัยในระดับที่เหมาะสมกับความต้องการ
– สามารถนามาใช้ได้สะดวก รวดเร็ว และครบถ้วน
บุคลากร เป็นบุคคลที่เกี่ยวข้องกับ DSS ตั้งแต่กาหนดปัญหาและความต้องการ การพัฒนา ออกแบบ และการใช้ บุคลกรที่เกี่ยวกับกับ DSS แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
– ผู้ใช้ (end-user) เป็นผู้ใช้งานโดยตรงของ DSS ได้แก่ ผู้บริหารในระดับต่าง ๆ นักวิเคราะห์และผู้เชี่ยวชาญทางด้านธุรกิจที่ต้องการข้อมูลประกอบการตัดสินใจ
– ผู้สนับสนุน DSS (DSS supporter) ได้แก่ ผู้ควบคุมดูแลรักษาอุปกรณ์ต่าง ๆ ผู้พัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ผู้จัดการข้อมูลและที่ปรึกษาเกี่ยวกับระบบ
– ผู้ใช้ (end-user) เป็นผู้ใช้งานโดยตรงของ DSS ได้แก่ ผู้บริหารในระดับต่าง ๆ นักวิเคราะห์และผู้เชี่ยวชาญทางด้านธุรกิจที่ต้องการข้อมูลประกอบการตัดสินใจ
– ผู้สนับสนุน DSS (DSS supporter) ได้แก่ ผู้ควบคุมดูแลรักษาอุปกรณ์ต่าง ๆ ผู้พัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ผู้จัดการข้อมูลและที่ปรึกษาเกี่ยวกับระบบ
คุณสมบัติของ DSS
พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน ทาให้ DSS ช่วยผู้บริหารในการตัดสินใจแก้ปัญหา โดยนำข้อมูลที่จะเป็นแบบจำลองในการตัดสินใจ
– สามารถโต้ตอบกับผู้ใช้ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
– ง่ายต่อการเรียนรู้และใช้งาน
– มีข้อมูล สนับสนุนการตัดสินใจที่เหมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะของปัญหา
– สนับสนุนการตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้าง และไม่มีโครงสร้าง
– มีความยืดหยุ่นต่อความต้องการของผู้ใช้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น